หมวดที่1
มาตรา ๑ ประเทศไทยเป็นราชอาณาจักรอันหนึ่งอันเดียวจะแบ่งแยกมิได้
มาตรา ๒ ประเทศไทยมีการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
มาตรา ๓ อำนาจอธิปไตยเป็นของปวงชนชาวไทย พระมหากษัตริย์ผู้ทรงเป็นประมุขทรงใช้อำนาจนั้นทาง
รัฐสภา คณะรัฐมนตรีและศาล ตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญนี้
มาตรา ๔ ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ สิทธิ และเสรีภาพของบุคคล ย่อมได้รับความคุ้มครอง
มาตรา ๕ ประชาชนชาวไทยไม่ว่าเหล่ากำเนิด เพศ หรือศาสนาใด ย่อมอยู่ในความคุ้มครองแห่งรัฐธรรมนูญนี้เสมอกัน
มาตรา ๖ รัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุดของประเทศบทบัญญัติใดของกฎหมาย กฎหรือข้อบังคับ ขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญนี้บทบัญญัตินั้นเป็นอันใช้บังคับมิได้
มาตรา ๗ ในเมื่อไม่มีบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญนี้บังคับแก่กรณีใด ให้วินิจฉัยกรณีนั้นไปตามประเพณีการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
หมวดที่2
พระมหากษัตริย์
หมวดที่3
สิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทย
หมวดที่4
หน้าที่ของชนชาวไทย
หมวดที่5
แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ
หมวดที่6
รัฐสภา
ส่วนที่ 1 บททั่วไป
ส่วนที่ 2 สภาผู้แทนราษฎร
ส่วนที่ 3 วุฒิสภา
ส่วนที่ 4 คณะกรรมการเลือกตั้ง
ส่วนที่ 5 บทที่ใช้แก่สภาทั้งสอง
ส่วนที่ 6 การประชุมร่วมกันของสภาทั้งสอง
ส่วนที่ 7 ผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภา
ส่วนที่ 8 คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
หมวดที่7
คณะรัฐมนตรี
หมวดที่8
ศาล
ส่วนที่ 1 บททั่วไป
ส่วนที่ 2 ศาลรัฐธรรมนูญ
ส่วนที่ 3 ศาลยุติธรรม
ส่วนที่ 4 ศาลปกครอง
ส่วนที่ 5 ศาลทหาร
หมวดที่9
การปกครองส่วนท้องถิ่น
หมวดที่10
การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ
ส่วนที่ 1 การแสดงบัญชีรายการทรัพย์สินและหนี้สิน
ส่วนที่ 2 คณะกรรมการป้องกันและปราบปราม การทุจริตแห่งชาติ
ส่วนที่ 3 การถอดถอนจากตำแหน่ง
ส่วนที่ 4 การดำเนินคดีอาญากับผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง
หมวดที่11
การตรวจเงินแผ่นดิน
หมวดที่12
การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ
เฉพาะการ
่ความรู้เกี่ยวกับรัฐธรรมนูญและการเลือกตั้ง
หมวดที่ 1
สิทธิเสรีภาพขั้นพื้นฐานของประชาชน
หมวดที่ 2
องค์กรระบบ เลือกตั้งและการตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ
หมวดที่ 3
การเลือกตั้ง ส.ส.